Pedagogy Adragogy Heutagogy
Pedagogy หมายถึงศิลปและศาสตรของการเปนครูซึ่งขยายความตอไปอีก
จะเปนการใชเทคนิควิธีทางการสอนและอื่น ๆ อีกมากที่เกี่ยวกับการสอน คําวา Pedagogy มาจากคําวา Paidagogos ใน
ภาษากรีกโบราณ หมายถึง ทาส ที่ทําหนาที่สั่งสอนแนะนําการเรียนรูใหกับเด็ก ๆ ที่เปนลูกหลานของทาสตามที่เจานาย
ตองการและเด็ก ๆ ที่อยูในความดูแลของ Paidagogos ก็ลวนเปนทาสทั้งนั้น สวนผูที่ไมไดเปนทาสนั้นไมตองเชื่อฟง
คําสั่งสอนจากผูเปนทาส จึงเปนหนาที่ของ Paidagogos ที่ทําหนาที่ฝกลูกทาสเหมือนกับครูฝกทหาร (Drill Sergeant)
เพื่อใหมั่นใจวาทาสเหลานั้นจะทําหนาที่ไดอยางดีตามที่เจานายตองการคําวา “paidia” (παιδιά) หมายถึงเด็ก ๆ
(Children)
Adragogy หมายถึงการสอนผูใหญ แตกตางจาก Pedagogy ซึ่งหมายความถึงเด็ก ๆ
(Child-Leading) และแสดงใหเห็นวาการสอนผูใหญมีความแตกตางจากการสอนเด็กโดยเฉพาะอยางยิ่งในการเรียนการ
สอนอาชีวศึกษาและการฝกอาชีพรวมทั้งการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาดวยการเรียนการสอนผูใหญทั้งที่มีการ
เรียนแบบตัวตอตัว ไปจนถึงการเรียนแบบทางไกลนั้นใชฐานความรูความเขาใจในการกระบวนการเรียนรูของผูใหญ
ในเรื่องของการนําทางดวยตนเอง (Self-Directedness) หมายถึงการควบคุมและกําหนดแนวทางของการเรียนดวย
ตนเอง สําหรับหลักการและกระบวนการสอนผูใหญตามทฤษฎีของ Knowles สรุปได 4 ประการไดแก
1) ผูใหญ
ตองการมีสวนในการวางแผนและประเมินการเรียนการสอน
2) ประสบการณทั้งที่ถูกและผิดเปนฐานของการเรียนและ
การจัดประสบการณใหมในการเรียนรู
3) ผูใหญสนใจในเนื้อหาของการเรียนที่เกี่ยวของกับงานที่ทําในขณะนั้นหรือ
การใชชีวิตในขณะนั้น และ 4) การเรียนของผูใหญจะใชปญหาเปนศูนยกลาง (Problem-Centered) ในการนําเขาสู
กระบวนการเรียนการสอนมากกวาการใชเนื้อหาเปนตัวนํา (Content-Oriented) เขาสูการเรียนการสอน
Heutagogy หมายถึง การเรียนสําหรับคนที่มีศักยภาพพรอมที่จะเรียนในองคกรที่มีศักยภาพที่สามารถใหการเรียนรู
และเรียนบนฐานของความสามารถที่จะเรียนไดดวยตนเอง สามารถควบคุมตนเองกําหนดทิศทางการเรียนดวยตนเอง
ดวยรูปแบบและวิธีการตาง ๆ และเรียนรูที่จะเรียนไดอยางไรใหเหมาะสมกับตนเอง เปนตน ดังนั้นเทคโนโลยีการสอน
อาชีวศึกษาและการฝกอาชีพจึงควรใหความสนใจกับการเรียนการสอนแบบ Heutagogy ซึ่งนาจะเปนกระบวนการ
เรียนการสอนที่สอดคลองกับโลกปจจุบันและอนาคตอีกดวย
แหล่งข้อมูล
รองศาสตราจารยดร. กฤษมันต วัฒนาณรงค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น